Incoterms began development in 1921 with the forming of the idea by the International Chamber of Commerce.[1] In 1936, the first set of Incoterms was published.[2] The first set remained in use for almost 20 years before the second publication in 1953. Additional amendments and expansions followed in 1967, 1976, 1980, 1990 and 2000. The eighth and current version of Incoterms—Incoterms 2010—was published on January 1, 2011.[3][4]
[edit] Incoterms 2010
The eighth published set of pre-defined terms, Incoterms 2010 defines 11 rules, reducing the 13 used in Incoterms 2000 by introducing two new rules ("Delivered at Terminal", DAT; "Delivered at Place", DAP) that replace four rules of the prior version ("Delivered at Frontier", DAF; "Delivered Ex Ship", DES; "Delivered Ex Quay", DEQ; "Delivered Duty Unpaid", DDU).[5] In the prior version, the rules were divided into four categories, but the 11 pre-defined terms of Incoterms 2010 are subdivided into two categories based only on method of delivery. The larger group of seven rules applies regardless of the method of transport, with the smaller group of four being applicable only to sales that solely involve transportation over water.[edit] General mode of transportation
The seven rules defined by Incoterms 2010 for general modes of transportation are:- EXW – Ex Works (named place)
- The seller makes the goods available at his premises. The buyer is responsible for all charges. This trade term places the greatest responsibility on the buyer and minimum obligations on the seller. The Ex Works term is often used when making an initial quotation for the sale of goods without any costs included. EXW means that a seller has the goods ready for collection at his premises (Works, factory, warehouse, plant) on the date agreed upon. The buyer pays all transportation costs and also bears the risks for bringing the goods to their final destination. The seller delivers the good at seller's premise or named place (works, factory and warehouse,etc), but not loaded on collecting vehicles and not cleared for export. The seller has no obligation to load the goods, even though in practice he may be in a better position to do so. If the seller does load the good, he does so at buyer's risk and cost. If parties wish seller to be responsible for the loading of the goods on departure and to bear the risk and all costs of such loading, this must be made clear by adding explicit wording to this effect in the Contract of sale.
- FCA – Free Carrier (named places)
- The seller hands over the goods, cleared for export, into the custody of the first carrier (named by the buyer) at the named place. The seller pays for carriage to the named point of destination, but risk passes when the goods are handed over to the first carrier.
- CPT - Carriage Paid to (named place of destination) - Seller pays for main carriage Risk transfers to buyer upon delivery to first carrier rail
- CIP – Carriage and Insurance Paid (To) (named place of destination)
- The containerized transport/multimodal equivalent of CIF. Seller pays for carriage and insurance to the named destination point, but risk passes when the goods are handed over to the first carrier.
- DAT – Delivered at Terminal
- Seller pays for carriage to the terminal, except for costs related to import clearance, and assumes all risks up to the point that the goods are unloaded at the terminal.
- DAP – Delivered at Place (named place of destination)
- Seller pays for carriage to the named place, except for costs related to import clearance, and assumes all risks prior to the point that the goods are ready for unloading by the buyer.
- DDP – Delivered Duty Paid (destination place)
- Seller is responsible for delivering the goods to the named place in the country of importation, including all costs and risks in bringing the goods to import destination. This includes duties, taxes and customs formalities
[edit] Water transportation (solely)
The four rules defined by Incoterms 2010 for sales where transportation is entirely conducted by water are:- FAS – Free Alongside Ship (named loading port)
- The seller must place the goods alongside the ship at the named port. The seller must clear the goods for export. Suitable only for maritime transport but NOT for multimodal sea transport in containers (see Incoterms 2010, ICC publication 715). This term is typically used for heavy-lift or bulk cargo.
- FOB – Free on board (named loading port)
- The seller must themselves load the goods on board the ship nominated by the buyer, cost and risk being divided at ship's rail. The seller must clear the goods for export. Maritime transport only but NOT for multimodal sea transport in containers (see Incoterms 2010, ICC publication 715). The buyer must instruct the seller the details of the vessel and port where the goods are to be loaded, and there is no reference to, or provision for, the use of a carrier or forwarder. It does not include Air transport. This term has been greatly misused over the last three decades ever since Incoterms 1980 explained that FCA should be used for container shipments.
- CFR – Cost and Freight (named destination port)
- Seller must pay the costs and freight to bring the goods to the port of destination. However, risk is transferred to the buyer once the goods are loaded on the ship (this rule is new since 2010!). Maritime transport only and Insurance for the goods is NOT included. Insurance is at the Cost of the Buyer.
- CIF – Cost, Insurance and Freight (named destination port)
- Exactly the same as CFR except that the seller must in addition procure and pay for insurance for the buyer. Maritime transport only.
[edit] Previous terms eliminated in 2010
- DAF – Delivered At Frontier (Delivery place)
- This term can be used when the goods are transported by rail and road. The seller pays for transportation to the named place of delivery at the frontier. The buyer arranges for customs clearance and pays for transportation from the frontier to his factory. The passing of risk occurs at the frontier.
- DES – Delivered Ex Ship (named port)
- Where goods are delivered ex ship, the passing of risk does not occur until the ship has arrived at the named port of destination and the goods made available for unloading to the buyer. The seller pays the same freight and insurance costs as he would under a CIF arrangement. Unlike CFR and CIF terms, the seller has agreed to bear not just cost, but also Risk and Title up to the arrival of the vessel at the named port. Costs for unloading the goods and any duties, taxes, etc… are for the Buyer. A commonly used term in shipping bulk commodities, such as coal, grain, dry chemicals - - - and where the seller either owns or has chartered, their own vessel.
- DEQ – Delivered Ex Quay (named port)
- This is similar to DES, but the passing of risk does not occur until the goods have been unloaded at the port of destination.
- DDU – Delivered Duty Unpaid (destination place)
- This term means that the seller delivers the goods to the buyer to the named place of destination in the contract of sale. The goods are not cleared for import or unloaded from any form of transport at the place of destination. The buyer is responsible for the costs and risks for the unloading, duty and any subsequent delivery beyond the place of destination. However, if the buyer wishes the seller to bear cost and risks associated with the import clearance, duty, unloading and subsequent delivery beyond the place of destination, then this all needs to be explicitly agreed upon in the contract of sale.
[edit] Summary of terms
For a given term, "Yes" indicates that the seller has the responsibility to provide the service included in the price. "No" indicates it is the buyer's responsibility. If insurance is not included in the term (for example, CFR) then insurance for transport is the responsibility of the buyer or the seller depending on who owns the cargo at time of transport. In the case of CFR terms, it would be the buyer while in the case of CIF or CIP terms, it would be the seller.Incoterms | Load to truck | Export- duty payment | Transport to exporter's port | Unload from truck at port of origin | Landing charges at port of origin | Transport to importer's port | Landing charges at importer's port | Unload onto trucks from the importers' port | Transport to destination | Insurance | Entry - Customs clearance | Entry - Duties and Taxes |
EXW | Yes | No | No | No | No | No | No | No | No | No | No | No |
FCA | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No | No | No | No | No |
FAS | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No | No | No | No |
FOB | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No | No | No |
CFR | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No |
CIF | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | Yes | No | No |
CPT | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No |
CIP | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No |
DAP | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No | No |
DAF | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No | No |
DES | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No | No |
DAT | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No |
DEQ | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No | No | No | No |
DDU | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | No |
DDP | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | Yes | No | Yes | Yes |
[edit] References
- ^ "History of the Incoterms® rules". ICC. http://www.iccwbo.org/incoterms_history/. Retrieved 16 May 2011.
- ^ Morrissey, Joseph F.; Jack M. Graves (March 2008). International Sales Law and Arbitration: problems, cases and commentary. Kluwer Law International. p. 148. ISBN 9789041126542.
- ^ Economic Times: ICC updates Incoterms (27 September 2010)
- ^ "Incoterms". Iccwbo.org. 2011-01-01. http://www.iccwbo.org/incoterms. Retrieved 2011-04-05.
- ^ "From the introduction of Incoterms® 2010". ICC. http://www.iccwbo.org/Incoterms/index.html?id=40772. Retrieved 16 May 2011.
[edit] External links
- Incoterms 2010 Videos explaining the ICC rules for the use of domestic and international trade terms
- Short overview of international commerce vocabulary
- International Chamber of Commerce (ICC) incoterm list
- David, P. & Stewart, R. (2010). International Logistics 3rd Ed. Cengage Learning: Mason, OH, Pg 113.
- International Commercial Terms used in Export Import Comxport Trade Data
- Incoterms 2010 Wall Chart
Incoterm ทำให้การค้าระหว่างประเทศง่ายขึ้นและช่วยผู้ค้าจากประเทศต่างๆเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น Incoterm 2000 เป็นมาตรฐานความหมายการค้าที่ใช้ในการทำสัญญาซื้อขาย Incoterm ถูกดูแลและคุ้มครองโดยสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce) ซึ่งยึดติดกับการค้าสหประชาชาติหลัก
ปัจจุบันมี 13 Incoterm ที่ถูกใช้ สัญญาที่ได้ถูกทำหลังจากวันที่ 1 มกราคม 2000 จะอ้างถึง Incoterm แบบฉบับล่าสุดของ Incoterm ซึ่งถูกบังคับใช้ตั้งแต่วันนั้น ซึ่งการอ้างอิงที่ถูกต้องจะต้องเป็น Incoterm 2000 หากยังไม่ได้มีการตัดสินใจโดยผู้ค้า Incotermแบบฉบับก่อนยังคงถูกอ้างถึงกรณีสัญญาถูกทำก่อนวันที่ 1 มกราคม 2000
Incoterm ปัจจุบันจะถูกบรรายายด้านล่างเรียงตามความรับผิดชอบของผู้ขาย อย่างไรก็ตาม Ex-work, Free on Board, Cost Insurance Freight และ Delivery Duty Paid เป็น Incoterm ที่ถูกใช้เป็นประจำสำหรับจุดมุ่งหมายของ Management Dynamic, Inc.
ในทางปฏิบัติ คู่ค้ามักจะเติมข้อคามใน Incoterm เพื่อเพิ่มความชัดเจนให้มากกว่าที่ term จะสามารถให้ได้ ขอย้ำว่า Incoterm ไม่ได้มีการแนะนำใดๆในส่วนที่เพิ่มเติม
Group E (การออกจากสถานที่)
EXW - ExWorks (.....ระบุชื่อสถานที่): Ex works หมายถึงผู้ขายจะส่งเมือเมื่อผู้ขายวางสินค้า ให้ผู้ซื้อ ณ สถานที่ของผู้ขาย หรือสถานที่ที่ถูกระบุเช่น ที่ทำงาน โรงงาน โกดัง ฯลฯ จะไม่ถูกส่งออกหรือไม่ถูกเคลื่อนย้ายไปยังยานพาหนะ
ดังนั้นเทอมนี้จะแทนเทอมที่ข้อกำหนดกับผู้ขายน้อยที่สุด และผู้ซื้อต้องรับต้นทุนและความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในการนำสินค้าจากสถานที่ของผู้ขาย อย่างไรก็ตามหากคู่ค้าต้องการผู้ขายรับผิดชอบยกสินค้าออกตอนขาออกและรับความเสี่ยงและต้นทุนในการยกสินค้าขึ้นพาหนะ ข้อความควรจะถูกเติมอย่างชัดเจนในสัญญาซื้อขาย
Group F (การขนส่งหลักๆจะไม่ถูกจ่ายโดยผู้ขาย)
FCA - Free Carrier (.....ระบุชื่อสถานที่): Free Carrier หมายถึงผู้ขายส่งสินค้าและทำการส่งออกไปยังผู้ที่เป็นพาหะนำส่งสินค้าที่ได้ถูกแต่งตั้งโดยผู้ซื้อ ณ สถานที่ที่กำหนด ควรจะต้องเน้นว่าสถานที่ที่ถูกเลือกให้ส่งและมีผลกระทบกับข้อกำหนดของการยกสินค้าขึ้นและยกสินค้าลง ณ สถานที่นั้น ถ้าการส่งเกิดขึ้น ณ สถานที่ของผู้ขาย ผู้ขายจะรับผิดชอบในการยกสินค้า ถ้าการส่งได้เกิดขึ้น ณ สถานที่อื่นๆ ผู้ขายจะไม่รับผิดชอบการยกสินค้าลง
เทอมนี้อาจถูกใช้ไม่ว่าจะเป็นวิธีการขนส่งใดๆรวมทั้งการขนส่งที่หลากหลายชนิดรวมกัน
ผู้ที่เป็นพาหะ หมายถึงคนที่อยู่ในสัญญาของการขนส่งซึ่งกระทำหรือซื้อการขนส่งโดยทางรถไฟ ถนน อากาศ ทะเล บนบก ทางเดินน้ำ หรือโดยการรวมกันทั้งหมดของการขนส่ง ถ้าผู้ซื้อแต่งตั้งคนอื่นนอกเหนือจากผู้ที่เป็นพาหะเพื่อที่จะมารับสินค้า ผู้ขายจะถูกกำหนดที่จะส่งสินค้าเมือมันถูกส่งไปยังผู้นั้น
FAS - Free Alongside Ship (....ชื่อท่าเรือของการขนส่ง): Free alongside Ship หมายถึงผู้ขายส่งสินค้าเมื่อสินค้าถูกวางข้าง เรือเดินสมุทรที่ท่าเรือที่ได้ถูกระบุของการขนส่ง นั้นหมายถึงผู้ซื้อจะต้องรับต้นทุนและความเสี่ยงเมื่อสินค้ามีความเสียหาย ณ ขณะนั้น
เทอม FAS จะต้องให้ผู้ขายเคลียร์สินค้าสำหรับการส่งออก อย่างไรก็ตามถ้าคู่ค้าต้องการผู้ซื้อเป็นผู้เคลียร์สินค้าสำหรับการส่งออก ควรจะมีการเพิ่มเติมข้อความในสัญญา ซื้อขายอย่างชัดเจน เทอมนี้สามารถใช้ได้เฉพาะ การขนส่งทางทะเล หรือทางน้ำเท่านั้น
FOB-Free On Board (...ระบุชื่อท่าเรือของการขนส่ง): Free On Board หมายถึงผู้ขายส่ง เมื่อสินค้าผ่านทางเรือ ณ ท่าเรือ ของการขนส่ง นั่นหมายถึง ผู้ซื้อจะต้องรับต้นทุนและความเสี่ยงของความเสียหาย หรือ สูญหายของสินค้าตั้งแต่ ณ จุดนั้น
เทอม FOB ต้องให้ผู้ขายเคลียร์ สินค้าสำหรับการส่งออก ถ้าคู่ค้าไม่ตั้งใจที่จะส่งสินค้าข้ามผ่านทางเรือ ควรจะใช้เทอม FCA เทอมนี้สามารถใช้สำหรับการขนส่งทางทะเล หรือทางน้ำเท่านั้น
Group C (การขนส่งหลักถูกจ่ายโดยผู้ขาย)
CFR- Cost and Freight (...ระบุชื่อ ของจุดหมาย): Cost and Freight หมายถึง ผู้ขายส่งสินค้าผ่านทางเรือ ณ ท่าเรือ ของการขนส่ง ผู้ขายจะต้องจ่ายต้นทุน และค่าขนส่งที่จะทำสินค้าไปยังท่าของจุดหมาย ที่ได้ระบุไว้ แต่ความเสี่ยงต้องการสูญหายหรือสูญเสียของสินค้า และต้นทุนอื่นๆที่เกิดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากเวลาส่งจะ ถูกส่งต่อไปยังผู้ซื้อ
เทอม CFR ต้องการให้ผู้ขายเคลียร์สินค้าสำหรับการส่งออก ถ้าคู่ค้าตั้งใจที่จะไม่ส่งสินค้าผ่านทางเรือ ควรจะใช้เทอม CPT เทอมนี้จะสามารถใช้เฉพาะ การขนส่งทางทะเล หรือทางน้ำเท่านั้น
เทอม CFR ต้องการให้ผู้ขายเคลียร์สินค้าสำหรับการส่งออก ถ้าคู่ค้าตั้งใจที่จะไม่ส่งสินค้าผ่านทางเรือ ควรจะใช้เทอม CPT เทอมนี้จะสามารถใช้เฉพาะ การขนส่งทางทะเล หรือทางน้ำเท่านั้น
CIF - Cost, Insurance and Freight (...ระบุชื่อท่าของจุดหมาย) : Cost, Insurance and Freight หมายถึงผู้ขายจะตดจ่ายต้นทุน และค่าขนส่ง ที่จำเป็นในการนำสินค้าไปยังท่าที่ได้ระบุ แต่ความเสี่ยงของการสูญหาย หรือ ความเสียหายของสินค้า และต้นทุนที่เพิ่มขึ้นต่างๆ ที่เกิดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากการส่งจะถูกส่งต่อไปยังผู้ซื้อ อย่างไรก็ตามเทอม CIF นี้ ผู้ขายจะต้องซื้อประกันทางน้ำสำหรับความเสี่ยงของการสูญหายหรือสูญเสียระหว่างการขนส่ง ดังนั้นผู้ขายจะต้องทำสัญญา สำหรับการประกันและจ่ายค่าเบี้ยประกันผู้ซื้อควรจะรู้ว่า เทอม CIF ผู้ขายจำเป็นที่จะทำ ประกัน ที่จะ Cover ขั้นต่ำเท่านั้น หากผู้ซื้อต้องการที่จะปกป้องมากขึ้น ผู้ซื้อจำเป็นที่จะต้องตกลงกับผู้ขายหรือหรือทำประกันเพิ่มด้วยตนเอง เทอม CIF ต้องการผู้ขายเคลียร์สินค้า สำหรับการส่งออก ถ้าคู่ค้าไม่ต้องการที่จะส่งสินค้าผ่านทางเรือ ควรจะใช้เทอม CIP
เทอมนี้สามารถใช้ได้เฉพาะการขนส่งทางทะเลหรือทางน้ำเท่านั้น
CPT -Carriage Paid to (...ระบุสถานที่ของจุดหมายปลายทาง) : Carriage Paid to หมายถึง ผู้ขายส่งสินค้าไปยัง พาหะ ที่ได้ถูกแต่งตั้งโดยผู้ขาย แต่ผู้ขายจะตัดจ่ายจ่ายต้นทุนที่เพิ่มเติมของการขนส่งที่จำเป็นในการนำสินค้าไปยังจุดหมายที่ระบุ นั่นหมายความว่า ผู้ซื้อจะรับความเสี่ยงและต้นทุนอื่นๆที่เกิดขึ้นหลังจากสินค้าได้ส่งถึง
พาหะ หมายถึงคนที่อยู่ในสัญญาของการขนส่ง เพื่อที่จะทำการจัดซื้อให้การขนส่งเกิดขึ้น โดยทางรถไฟ ถนน อากาศ ทะเล หรือ ทางเดินน้ำ หรือหลายชนิดรวมกัน ถ้ามีการการใช้พาหะ คนถัดไปสำหรับการขนส่งไปยังจุดหมายที่ตกลงกันไว้ ความเสี่ยงส่งผ่านเมื่อสินค้าถูกส่งไปยังพาหะ คนแรก เทอม CPT ต้องการผู้ขายทำการเคลียร์สินค้าสำหรับการส่งออก เทอมนี้สามารถใช้ได้ สำหรับการขนส่งทุกชนิด รวมทั้งการขนส่งหลายชนิดรวมกัน
CIP - Carriage and Insurance Paid to (...ระบุสถานที่ของจุดหมายปลายทาง ) : Carriage and Insurance Paid to “ หมายถึง ผู้ขายส่งสินค้าไปยังพาหะที่ได้ถูกเลือกโดยผู้ขาย แต่ผู้ขายจะต้องจ่ายต้นทุนเพิ่มเติม ของการขนส่งที่จำเป็นในกานำสินค้าไปยังจุดหมายที่ได้ถูกระบุไว้ นั้นหมายถึงผู้ซื้อรับความเสี่ยงทั้งหมด และต้นทุนที่เพิ่มขึ้นหลังจากสินค้าถูกส่ง อย่างไรก็ตาม ในเทอม CIP ผู้ขายก็จะต้องซื้อประกันสำหรับความเสี่ยงของการสูญเสียหรือความเสียหายของสินค้าของผู้ซื้อในระหว่างการขนส่ง ดังนั้นผู้ขายต้องทำสัญญาสำหรับประกันและจ่ายเบี้ยประกัน ผู้ซื้อควรจะรู้ว่าเทอม CIP นี้ผู้ขายจะต้องมีประกันที่รวมถึงการประกันขั้นต่ำเท่านั้น ถ้าผู้ซื้อต้องการที่จะปกป้องสินค้ามากขึ้น เขาจะต้องตกลงและบอกกับผู้ขายหรือจ่ายค่าประกันเพิ่มเติม
พาหะ หมายถึงคนที่อยู่ในสัญญาของการขนส่ง เพื่อที่จะทำการจัดซื้อให้การขนส่งเกิดขึ้น โดยทางรถไฟ ถนน อากาศ ทะเล หรือ ทางเดินน้ำ หรือหลายชนิดรวมกัน ถ้ามีการการใช้พาหะ คนถัดไปสำหรับการขนส่งไปยังจุดหมายที่ตกลงกันไว้ ความเสี่ยงส่งผ่านเมื่อสินค้าถูกส่งไปยังพาหะ คนแรก เทอม CIP ต้องการผู้ขายทำการเคลียร์สินค้าสำหรับการส่งออก เทอมนี้สามารถใช้ได้ สำหรับการขนส่งทุกชนิด รวมทั้งการขนส่งหลายชนิดรวมกัน
Group D (การมาถึง):
DAF - Delivered at Frontier (...ระบุสถานที่) : Delivered at Frontier หมายถึง ผู้ขายส่งสินค้า เมื่อสินค้าถูกส่ง ณ สถานที่ที่ผู้ซื้อระบุไว้ โดยไม่ต้องยกของออก หรือ เคลียร์สินค้าเพื่อการส่งออก แต่ไม่ต้องเคลียร์สำหรับการนำเข้า ณ จุดและสถานที่ของเขตแดน ก่อนจะถึงเขตแดนของศุลกากร ของประเทศที่ติดกัน เขตแดนอาจใช้สำหรับเขตแดนใดๆ รวมถึงประเทศที่ส่งออก ดังนั้นสิ่งสำคัญที่สุด คือกาที่หมดเขตแดนอย่างชัดเจนโดยจะต้องระบุจุดของสถานที่ในเทอม
อย่างไรก็ตาม ถ้าคู่ค้าต้องการให้ผู้ขายรับผิดชอบในกายกของออกเมื่อมาถึง และรับความเสี่ยงและต้นทุนของการยกของออก ควรระบุข้อความชัดเจน เพื่อให้มีผลบังคับใช้ในสัญญาซื้อขาย เทอม อาจจะถูกใช้ไม่ว่าจะขนส่งสินค้าทางใด เมื่อสินค้าถูกส่ง ณ เขตแดนทางบก เมื่อการขนส่งเกิดขึ้น ณ ท่าเรือ ของ จุดหมายปลายทางของท่าเรือ ควรจะใช้เทอม DES หรือ DEQ
อย่างไรก็ตาม ถ้าคู่ค้าต้องการให้ผู้ขายรับผิดชอบในกายกของออกเมื่อมาถึง และรับความเสี่ยงและต้นทุนของการยกของออก ควรระบุข้อความชัดเจน เพื่อให้มีผลบังคับใช้ในสัญญาซื้อขาย เทอม อาจจะถูกใช้ไม่ว่าจะขนส่งสินค้าทางใด เมื่อสินค้าถูกส่ง ณ เขตแดนทางบก เมื่อการขนส่งเกิดขึ้น ณ ท่าเรือ ของ จุดหมายปลายทางของท่าเรือ ควรจะใช้เทอม DES หรือ DEQ
DES- Delivered Ex-ship (...ระบุชื่อท่าเรือของจุดหมายปลายทาง) : Delivered Ex Ship หมายถึงผู้ขายส่งสินค้า ณ สถานที่ที่ผู้ซื้อระบุไว้ให้วาง ณ ท่าเรือ โดยไม่จำเป็น จะต้องเคลียร์สินค้านำเข้าจากท่าเรือของจุดหมายปลายทาง ผู้ขายจะต้องรับความเสี่ยงและต้นทุนที่เกิดขึ้นในกานำสินค้าไปยังท่าเรือที่ระบุไว้ของจุดหมายปลายทาง ก่อนที่จะนำของออก ถ้าคู่ค้าต้องการให้ผู้ขายรับความเสี่ยงและต้นทุนของการนำของออก จะต้องใช้เทอม DEQ เทอม นี้สามารถใช้เมื่อสินค้าถูกส่งโดยทางทะเลหรือทางเดินน้ำ หรือผสมกันไปยังท่าเรือของจุดหมายปลายทาง
DEQ - Delivered Ex-Quay (...ระบุชื่อท่าเรือของจุดหมายปลายทาง) : Delivered Ex Quay หมายถึงผู้ขายส่งวางสินค้าที่ผู้ซื้อได้ระบุ แต่ไม่เคลียร์สินค้า ณ ท่าเรือของจุดหมาย ผู้ขายจะต้องรับต้นทุน หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการนำสินค้าไปยังท่าเรือของจุดหมายที่กำหนดและนำสินค้าออกจากเรือ เทอม DEQ จะต้องให้ผู้ซื้อ เคลียร์สินค้าของการนำเข้าและจ่ายค่าธรรมเนียม ภาษี และค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้น การนำเข้า ถ้าคู่ค้าต้องการให้รวม ผู้ขายให้เป็นผู้จ่ายต้นทุนของการนำเข้าสินค้า ควรระบุข้อความไว้อย่างชัดเจนในสัญญาซื้อขาย เทอมนี้ ควรถูกใช้ เมื่อสินค้าถูกส่งทางทะเลหรือทางเดินน้ำ หรือผสมผสานกันจากเรือไปยังท่าเรือของจุดหมายปลายทาง อย่างไรก็ตาม คู่ค้าที่ต้องการให้ผู้ขายรับความเสี่ยงหรือต้นทุนในการจัดการกับสินค้าจากท่าเรือไปยังที่อื่นๆ (โกดัง,สนามบิน,ท่ารถ, ฯลฯ) ด้านในหรือด้านนอก ควรจะใช้เทอม DDU หรือ DDP
DDU- Delivered Duty Unpaid (...ระบุท่าเรือของจุดหมายปลายทาง) : Delivered Duty Unpaid หมายถึงผู้ขายส่งสินค้าไปยังผู้ซื้อ โดยจะไม่เคลียร์สินค้า และไม่ยกของออกจากพาหนะขนส่ง ณ จุดหมายปลายทาง ผู้ขายจะต้องรับต้นทุนและความเสี่ยงที่เกิดขึ้นโดยการนำสินค้าที่เกิดขึ้นนอกเหนือจาก ค่าธรรมเนียม ภาษีและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในการนำเข้าเพื่อเป็นค่าธรรมเนียมศุลกากร ในการนำเข้าสินค้าไปยังจุดหมาย ภาษีดังกล่าวจะต้องไปตกอยู่กับผู้ซื้อรวมถึงความเสี่ยงในการเคลียร์สินค้านำเข้าภายในเวลาที่กำหนด อย่างไรก็ตาม ถ้าหากคู่ค้าต้องการให้ผู้ขายรับต้นทุนภาษีศุลกากร และความเสี่ยงที่เกิดจากการนำส่งค่าเช่า มันควรจะมีข้อความระบุในสัญญาซื้อขายอย่างชัดเจน
เทอมนี้อาจจะถูกใช้กับการขนส่งชนิดใดก็ได้ เมื่อการขนส่งเป็นการขนส่งทางน้ำ DES หรือ DEQ ควรจะถูกใช้
DDP- Delivered Duty Paid (...ระบุท่าเรือของจุดหมายปลายทาง) : Delivered Duty Paid หมายถึง ผู้ขายส่งสินค้าให้ผู้ซื้อ, เคลียร์สินค้าและไม่ต้องยกของออกจากพาหนะ ณ สถานที่ปลายทางที่ระบุ ผู้ขายจะต้องรับความเสี่ยงของต้นทุน และความเสี่ยงในการนำสินค้าที่เกี่ยวข้อง (อ้างถึงย่อหน้าที่ 14) ภาษีต่างๆซึ่งในเทอม ได้รวมความรับผิดชอบต่อความเสี่ยงของพิธีการศุลกากรและการจ่ายค่าธรรมเนียม ภาษีต่างๆ และค่าใช้จ่ายต่างๆในการนำเข้าในประเทศจุดหมายปลายทาง ในขณะที่เทอม EX เสนอข้อกำหนดของผู้ขายน้อยสุด เทอม DDP เสนอข้อกำหนดของผู้ขายมากสุด เทอมนี้ควรจะถูกใช้ ถ้าผู้ขายไม่สามารถมีทะเบียนการนำเข้าได้ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม
อย่างไรก็ตาม หากคู่ค้าต้องการที่จะแยกข้อกำหนดของผู้ขายในส่วนของต้นทุนของการนำเข้า เช่น VAT มันควรจะถูกระบุอย่างชัดเจน เพื่อให้มีผลบังคับใช้ในสัญญาซื้อขาย ถ้าคู่ค้าต้องการให้ผู้ซื้อรับความเสี่ยงและต้นทุนของการนำเข้า เทอม DDU ควรจะถูกใช้ เทอมนี้อาจจะถูกใช้ได้ ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งชนิดไหน แต่การขนส่งทางน้ำ ควรจะใช้เทอม DES หรือ DEQ
อย่างไรก็ตาม หากคู่ค้าต้องการที่จะแยกข้อกำหนดของผู้ขายในส่วนของต้นทุนของการนำเข้า เช่น VAT มันควรจะถูกระบุอย่างชัดเจน เพื่อให้มีผลบังคับใช้ในสัญญาซื้อขาย ถ้าคู่ค้าต้องการให้ผู้ซื้อรับความเสี่ยงและต้นทุนของการนำเข้า เทอม DDU ควรจะถูกใช้ เทอมนี้อาจจะถูกใช้ได้ ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งชนิดไหน แต่การขนส่งทางน้ำ ควรจะใช้เทอม DES หรือ DEQ
https://content.managementdynamics.com/TW/REFERENCE/incoterms/incotermsThai.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น